หน้าแรก
เกี่ยวกับโครงการ
สภาพพื้นที่
ผังเมืองรวม
ดาวน์โหลดเอกสาร
ช่องทางติดต่อ
ลิงค์หน่วยงาน
ความคืบหน้าโครงการ
ข่าวสาร/ กิจกรรม
ความสำคัญของโครงการ
วัตถุประสงค์ของโครงการ
ขอบเขตพื้นที่โครงการ
ขั้นตอนการดำเนินงานและโครงการ
ลักษณะภูมิประเทศ
ด้านประชากร
ด้านเศรษฐกิจ
การใช้ประโยชน์ที่ดิน
ด้านรูปแบบเมืองและการตั้งถิ่นฐาน
ด้านคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์
ด้านการท่องเที่ยว
ด้านประวัติศาสตร์
ด้านวัฒนธรรม
ด้านพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัย
ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
ผังเมืองรวมจังหวัดสุรินทร์
ผังพัฒนาพื้นที่รายสาขา
ผังพัฒนาพื้นที่ปฏิบัติการ
ผังปฏิบัติการที่ 1
ผังปฏิบัติการที่ 2
ผังปฏิบัติการที่ 3
เอกสารประกอบการประชุมเพื่อระดมความคิดเห็นในการวางและจัดทำผังฯ (Workshop)
เอกสารประกอบการประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group)
กรมโยธาธิการและผังเมือง จึงดำเนินการวางและจัดทำผังเมืองรวมจังหวัดสุรินทร์ เพื่อให้เป็นผังแม่บทการพัฒนาพื้นที่ทางกายภาพของจังหวัด ด้านการใช้ประโยชน์ที่ดิน การพัฒนาเมืองและระบบเมืองการคมนาคมและขนส่ง สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ พร้อมกำหนดแนวทางและมาตรการทางผังเมือง ในการส่งเสริมและควบคุมการพัฒนาพื้นที่ให้เป็นไปอย่างมีระเบียบและเป็นระบบ รวมถึงเป็นการเสริมสร้างโอกาสและเพิ่มขีดความสามารถการพัฒนาในอนาคตอย่างยั่งยืน
pro-webserver.com,ระบบค้นหา
Custom Search
Search
กรอกคำที่ต้องการค้นหา
เลือกกลุ่มที่ต้องการค้นหา
บทความ
ข่าวสาร และโปรโมชั่น
สินค้า และบริการ
Untitled Document
ส่งเว็บไซต์นี้ให้เพื่อน
ชื่อของคุณ
E-mail ของเพื่อน
Enter the code shown
รับข่าวสารจากเรา
รับข่าวสาร
ยกเลิก
ความคืบหน้าโครงการ
ผังเมืองคืออะไร
ผังเมืองคืออะไร ผังเมืองคือการวางแผนของเมือง หรือการวางแผนทางกายภาพ เพื่อเปลี่ยนกรอบแนวทางกาพัฒนาเมืองใหม่ เปลื่ยนรูปแบบ มีการใช้ที่ดินที่ชัดเจนไม่ปะปนกัน แต่จะมีความสอดคล้องซึ่งกันและกัน เพื่อให้เมืองที่ได้พัฒนาและมีความสวยงาม สะดวกสบาย ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน และรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อมของเมืองให้ดีขึ้น
ตามความหมายของ ผังเมือง ซึ่งบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 ได้ระบุความหมายได้ดังนี้
การผังเมือง หมายความว่า การวาง จัดทําและดําเนินการให้เป็นไปตามผังเมืองรวมและผังเมืองเฉพาะในบริเวณเมือง และ บริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท เพื่อสร้างหรือพัฒนาเมืองหรือส่วนของเมืองขึ้นใหม่หรือแทนเมืองหรือส่วนของ เมืองที่ได้รับความ เสียหายเพื่อให้มีหรือทําให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งสุขลักษณะ ความสะดวกสบาย ความเป็นระเบียบ ความสวยงาม การใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน ความปลอดภัยของประชาชน และสวัสดิภาพของสังคม เพื่อส่งเสริมการเศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อม เพื่อดํารงรักษาหรือ บูรณะสถานที่และวัตถุที่มีประโยชน์หรือคุณค่าในทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์ หรือโบราณคดี หรือเพื่อรักษา ทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิประเทศที่งดงาม หรือมีคุณค่าในทางธรรมชาติ
© http://www.surinrprovincialplan.com | Online 2 User | Hit : 770437 | SOFTWARE
PROWEBBIZ V9.5 Class B